Saturday, June 2, 2018

3 Abstracts from ERIC

Twenty First Century Education: Transformative Education for Sustainability and Responsible Citizenship
Bell, David V. J.
Journal of Teacher Education for Sustainability, v18 n1 p48-56 2016
Many ministries of education focus on twenty-first century education but unless they are looking at this topic through a sustainability lens, they will be missing some of its most important elements. The usual emphasis on developing skills for employability in the current global economy begs the question whether the global economy is itself sustainable over the course of this century. According to the World Business Council on Sustainable Development (WBCSD) whose membership comprises 29 of the largest, most important companies on the planet, it is "not". Continuing on the current development path would require approximately 2.3 planet Earths to support existing levels of resource and energy use, and waste production, projected out for a global population which will reach 9 billion by 2050. And yet most discussions of 21st century education are premised on servicing, rather than transforming, the current global economy. This paper explores the opportunities and benefits of connecting the discourse on twenty-first century education with Education for Sustainable Development (ESD) which seeks to prepare learners for the varied and interrelated environmental, social, and economic challenges they will meet as they confront a changing world. ESD emphasizes futures thinking and strategic planning that will enable learners to help create and flourish in a more sustainable economy. Conventional teaching models must also shift to a "transformative" style of education for the twenty-first century in order for humankind to learn how to live more sustainably on this planet.
UNESCO Chair on Interplay of Tradition and Innovation in ESD. Parades 1-220, Daugavpils University, Daugavplis LV-5401, Latvia. Tel: 371-6542-5452; Fax: 371-6542-2890; e-mail: unescochair@du.lv; Web site: http://www.du.lv
Publication Type: Journal Articles; Reports - Evaluative
Education Level: N/A
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Canada

The Role of 21st Century Skills in Two Rural Regional Areas of Public Education
Fox, Sean B.; McDermott, Carrie L.
Journal for Leadership and Instruction, v14 n2 p26-30 Fall 2015
Budgetary shortfalls and excessive layoffs have left public schools with a deficiency of professional innovation as well as modern theory and practice. It is imperative that educators identify the exemplary school systems that are engaging students and adults in 21st century education, and broadcast those patterns of success to schools in need of reform. These researchers presented comparative, qualitative case studies on engagement in work in two regional areas in Suffolk County, New York. The purpose of these studies was to investigate how school systems and educators engage students and adults in 21st century education.
SCOPE Education Services. 100 Lawrence Avenue, Smithtown, NY 11787. Tel: 631-360-0834; Fax: 631-360-8489; e-mail: contact@scopeonline.us; Web site: http://scopeonline.us
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: Elementary Secondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: New York

Twenty-First Century Instructional Classroom Practices and Reading Motivation: Probing the Effectiveness of Interventional Reading Programs
Boulhrir, Taoufik
International Journal of Education and Literacy Studies, v5 n3 p57-66 Jul 2017
Twenty-first century education has undoubtedly witnessed changes of the definition of literacy to cope with the economic, social, and intellectual trends. Technological advances, which include skills of communication, creativity, critical thinking, and collaboration have become key in education, especially when dealing with literacy and reading motivation. As motivation hinges around two major theoretical approaches, intrinsic and extrinsic, numerous studies argue for the first to be more sustainable in enhancing reading motivation. Accordingly, many research based interventional programs have emerged since the late nineties with increasing popularity to offer answers to the dwindling rates in reading among youth. This article discusses traits of 21st century education in light of trends and challenges as it probes the effectiveness of some interventional programs that are meant, and argued for, to enhance literacy skills and reading motivation.
Australian International Academic Centre PTY, LTD. 11 Souter Crescent, Footscray VIC 3011, Australia. Tel: +61-3-9028-6880; e-mail: support@aiac.org.au; Web site: http://www.journals.aiac.org.au/index.php/IJELS/index
Publication Type: Journal Articles; Reports - Evaluative; Information Analyses
Education Level: N/A
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A

Saturday, May 26, 2018

งานวิจัย 2

เรื่องที่1

Title

บทบาทของผู้บริหารที่มีต่อการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานช่วงชั้นที่ 1 - 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี

Title Alternative

ROLES OF ADMINISTRATORS IN DEVELOPING AND IMPLEMENTING SCHOOL CURRICULUM IN LEVEL 1 - 2 BASIC EDUCATION SCHOOLS UNDER THE EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE SUPHAN BURI

Creator

Name: จริยา แก้วสะอาด

Organization : โรงเรียนวัดโคกยายเกตุ จังหวัดสุพรรณบุรี

Subject

ThaSH: ผู้บริหารโรงเรียน

Classification :.DDC: 371.2

ThaSH: โรงเรียน -- การบริหาร

Description

Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหาร ที่มีต่อการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา เปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ที่มีต่อการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา รวมทั้งสังเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา ช่วงชั้นที่ 1 - 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้น ที่ 1 - 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี จำนวน 270 คน ได้มาโดยการสุ่มตามระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วนตามขนาดของสถานศึกษา (proportional stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) กำหนดคำตอบเป็นข้อความ 5 ระดับซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (reliability)เท่ากับ 0.974 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows version 10.0 สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารปฏิบัติตามบทบาท ที่มีต่อการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน เรียงตามลำดับการปฏิบัติจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านจัดให้มีแผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ด้านเป็นผู้นำในการจัดทำหลักสูตร โดยร่วมประสานกับบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตลอดจนสาระหลักสูตรของสถานศึกษา ด้านสนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน คือ ด้านจัดให้มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรสถานศึกษา ส่วนการปฏิบัติตามบทบาทที่มีต่อการใช้ หลักสูตรสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก 1 ด้าน คือ ด้านจัดให้มีการนิเทศภายในเพื่อให้มีการกำกับติดตามการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีระบบอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน คือ ด้านจัดให้มีการประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ เพื่อการปรับปรุงพัฒนาสาระของหลักสูตรสถานศึกษาให้ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น ผลการเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ที่มีต่อการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษาจำแนกตามขนาดสถานศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยภาพรวมและเป็นรายด้านไม่แตกต่างกัน ปัญหาที่พบมากและแนวทางการแก้ปัญหา ในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ที่ มีต่อการจัดทำหลักสูตรที่สำคัญ 3 อันดับแรก คือ ปัญหาขาดบุคลากรที่มีความรู้ในการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา มีแนวทางแก้ปัญหา คือ จัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โดยเชิญวิทยากรหรือผู้รู้มาให้คำแนะนำ ปัญหารองลงมา คือ ขาดแคลนงบประมาณในการดำเนินการเพื่อจัดแหล่งเรียนรู้ มีแนวทางแก้ไขโดย จัดการระดมทุนจากชุมชน และปัญหาแผนพัฒนาสถานศึกษาปฏิบัติไม่ได้ตามแผนที่กำหนดเนื่องจากขาดแคลนงบประมาณ มีแนวทางแก้ไขโดยจัดระดมทุนจากชุมชนและวางแผนกำหนดแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน ส่วนปัญหาที่พบมากในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารที่มีต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ที่สำคัญ 3 อันดับแรก คือ ปัญหาครูขาดความรู้ในการวิเคราะห์และประเมินผลการนำหลักสูตรไปใช้ มีแนวทางแก้ปัญหาโดย จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ปัญหารองลงมาคือ การสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ยังไม่เหมาะสม มีแนวทางแก้ปัญหาโดย ขอคำแนะนำจากศึกษานิเทศก์ของเขตพื้นที่การศึกษา และปัญหาลำดับสุดท้าย คือ ผู้บริหารและครูมีภาระงานอื่นมาก ทำให้การนิเทศขาดความต่อเนื่อง มีแนวทางแก้ปัญหาโดย แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานและจัดลำดับความสำคัญของงาน

Publisher

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Address: กาญจนบุรี

Email: tdc@kru.ac.th

Contributor

Name: สุภาเพ็ญ จริยะเศรษฐ์

Role: ประธานกรรมการที่ปรึกษา

Name: ปราโมทย์ จันทร์เรือง

Role: กรรมการที่ปรึกษา

Date

Created: 2547

Issued: 2548-09-20

Type

วิทยานิพนธ์/Thesis

Format

application/pdf

ISBN: 9747540835

Source

CallNumber: 371.2 จ167บ

Language

tha

Thesis

DegreeName: ครุศาสตรมหาบัณฑิต

Level: ปริญญาโท

Descipline: การบริหารการศึกษา

Grantor: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

Rights

©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี


เรื่องที่สอง


Title
การประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5
Title Alternative
EDUCATION QUALITY ASSURANCE IN THE SCHOOLS UNDER THE MUNICIPALITY REGION 5


Organization : โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านชุกกุ่ม) จ.กาญจนบุรี
Classification :.DDC: 371.201
Description
Abstract: ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 เปรียบเทียบผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและศึกษาปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 54 คน และจากพนักงานครู เทศบาลผู้สอนจำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าสถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่า F (F-test) ที่ระดับความมีนัยสำคัญที่ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS/ for Windows Version 10.0 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล ทั้ง 3 ด้าน คือ มาตรฐานการศึกษาด้านปัจจัย มาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการ และมาตรฐานการศึกษาด้านผลผลิตอยู่ในระดับปานกลาง 2. เปรียบเทียบผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล ทั้ง 3 ด้านตามขนาดโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ พบว่า มีผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มาตรฐานการศึกษาด้านปัจจัย โรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ มีผลการดำเนินการตามตัวบ่งชี้ที่ 1 ด้านผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.ปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล พบว่า มาตรฐานการศึกษาด้านปัจจัย พบปัญหาการขาดแคลนครูในสาขาวิชาหลัก จำนวนนักเรียนต่อห้องมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ครูมีงานอื่นที่ต้องปฏิบัตินอกจากงานสอนเป็นจำนวนมาก บุคลากรในโรงเรียนขาดความสามัคคี มาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการ พบว่า บุคลากรในโรงเรียนยังไม่เข้าใจระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนจัดข้อมูลสารสนเทศ ยังไม่สมบูรณ์ คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษากับ โรงเรียนน้อย โรงเรียนมีการนำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้อย มาตรฐานการศึกษาด้านผลผลิต พบว่า นักเรียนขาดความรับผิดชอบ ไม่รักการอ่าน ขาดคุณธรรม จริยธรรม และนักเรียนไม่สามารถที่จะคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้เหตุผลได้
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กาญจนบุรี
Email: tdc@kru.ac.th
Role: ประธานกรรมการที่ปรึกษา
Role: กรรมการที่ปรึกษา
Date
Created: 2545
Issued: 2548-09-28
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
ISBN: 9747540126
Source
CallNumber: บฑว 371.201 ว619ก
Language
tha
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

เรื่องที่สาม

Title
สภาพการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วงชั้นที่ 2 ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานแขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 1
Title Alternative
The implementation of management of curriculum basic educational b.e. 2544 the stand of social studies, religion and culture second lavel, primary in educational institution Nan educational service area office, 1

Classification :.DDC: 375.00072
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. สำนักวิทยบริการ
Date
Created: 2550
Modified: 2553-06-05
Issued: 2553-05-05
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
Source
CallNumber: ป-อต 375.00072 ส113ส
Language
tha
Coverage
Spatial: น่าน
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

งานวิจัย

หัวข้อวิจัย : สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนรายวิชา INT212 (การออกแบบภายใน 2)
สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ผู้วิจัย : ณัฐฐา สววิบูลย์
หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ปี ที่พิมพ์ : 2554


บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนรายวิชา INT212 (การออกแบบ
ภายใน 2) สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม” มี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาด้านการสอนและ
เทคนิคการสอน ด้านบุคลิกลักษณะอาจารย์ ด้านสื่อประกอบการสอน และด้านการวัดและ
ประเมินผล และน าผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในพัฒนาการจัดการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การศึกษาเป็ นนักศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรม
ศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการออกแบบภายใน 2 ภาคการศึกษาที่
2 ปี การศึกษา 2553 จ านวนทั ้งสิ ้น 73 คน โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม 50 คน คิดเป็ นร้อยละ 68.5
ของประชากรทั ้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นแบบสอบถามซึ่งมีสาระ
ครอบคลุมถึงถึงสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ตามกรอบแนวคิดในการ
ศึกษา ซึ่งแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ 1)ข้อมูลทั่วไป 2)ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการ
เรียนการสอนในรายวิชา มีลักษณะเป็นมาตราวัด 5 ระดับ และ3)ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
พัฒนาที่มีลักษณะเป็ นค าถามปลายเปิ ด สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ (t-test)
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี ้ ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการจัดการ
เรียนการสอนในรายวิชาพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าสภาพการจัดการเรียนการสอนในภาพรวม
มีระดับปฏิบัติการอยู่ในระดับมากที่สุด ทั ้งนี ้เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าในด้านบุคลิกลักษณะของ
อาจารย์ด้านการสอนและเทคนิคการสอน ด้านการวัดและประเมินผล และด้านสื่อประกอบการสอน
มีการปฏิบัติอยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุดเช่นกัน ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาใน
การจัดการเรียนการสอนที่เห็นว่าทุกด้านมีปัญหาอยู่ในระดับน้อยที่สุด อาจหมายความได้ว่าสภาพ
ปัจจุบันและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเป็ นไปอย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียด
และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมบางประการที่จะสามารถน าไปใช้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไป
ค ำส ำคัญ : สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอน

Saturday, May 12, 2018